บทความนี้เป็นบทความต่อจากเทคนิคการตกแต่งบ้านตอนที่ 1
4.พื้นสามารถแบ่งโซนสัดส่วนในการทำกิจกรรมในบ้าน สำหรับบ้านควรแต่งพื้นบ้าน โดยการเน้นให้เข้ากับตัวบ้าน แล้วจะสามารถเลือกตกแต่งพื้นบ้าน โดยการใช้ความแตกต่างของวัสดุ สี และลวดลายที่จะสามารถแบ่งโซนสัดส่วนในการใช้ประโยชน์ของพื้นที่นั้น ๆ ในการแบ่งเส้น ตีกรอบลวดลายที่มีความแตกต่างกัน หรือมีความต่างของระดับย่อม ในช่วงแสดงอาณาเขตของส่วนที่มีการตั้งใจให้ในการแยกส่วนกัน หากพื้นที่มีขนาดเล็ก ก็ไม่ควรมีลวดลายสีสันต่าง ๆ
5.เพดานฝ่าช่วยกำหนดขอบเขตของพื้นที่ สำหรับลักษณะของฝ้าเพดานก็จะช่วยในการกำหนดขอบเขตของพื้นบ้าน ให้เห็นได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ก็ยังเป็นเหมือนกับเส้นกรอบให้มีการวางตำแหน่งโคมไฟฟ้าที่จะทำได้ง่ายมากยิ่งขึ้น
6.แสงจากการวางตำแหน่งดวงโคมในพื้นที่ ในการวางตำแหน่งดวงโคมในพื้นที่ต่าง ๆ ต้องมีการคำนึงถึงแสงสว่างสำหรับการใช้งาน ที่จะต้องมีให้พอเพียงต่อการใช้งานได้ ที่จะเกิดในบริเวณนั้น ๆ รวมไปถึงผังเพดาน โคมแขวนหรือโคมตั้งโต๊ะ แม้แต่การแบ่งกลุ่มการเปิดปิดสวิต์ไฟฟ้า จึงแปรียบเสมือนเป็นการจัดกลุ่มให้แสงสว่างมีการสอดคล้องกับการใช้สอย
7.การวางตำแหน่งเฟอร์นิเจอร์ สำหรับเนื้อที่ในการจัดเครื่องเรือนให้มีการสอดคล้องกับกิจรรมในบ้าน และจะต้องไม่ทำให้ผู้ที่อยู่อาศัยรู้สึกได้ว่าอึดอัด และเป็นการจัดวางชุดรับแขก โต๊ะกินข้าว เก้าอี เป็นการจัดวางตำแหน่งเครื่องใช้ต่าง ๆ ให้มีควาเหมาะสม
8.บ้านต้องมมีการตกแต่งบริเวณบ้านให้มีความน่าอยู่ ในการตกแต่งสวน บริเวณบ้านจะช่วยให้บ้านดูร่มรื่นสวยงาม ต้นไม้จะช่วยลดความกระด้างของตัวอาคาร ร่มเงาของต้นที่จะช่วยคลายความร้อน โดยบริเวณรอบนอกจะสามารจัดเป็นลานนั่งเล่น หรือเป็นที่พักผ่อนรับแขก ดังนั้นเทคนิคการตกแต่งบ้านให้ได้สัดสวน จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ และน่าติดตาม หากคุณเองอยากให้บ้านดูสวยงามและน่าอยู่ ก็จะสามารถนำเทคนิคนี้ไปใช้กันได้เลย