มาตรฐานการบัญชี

Click to rate this post!
[Total: 9 Average: 5]

            เริ่มจากปีพุทธศักราช 2550 เป็นต้นมา ได้มีการจัดทำมาตรฐานในเรื่องของการบัญชีออกมา 13 ฉบับ  เพื่อให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานในระดับของการบัญชีระหว่างประเทศ หรืออินเตอร์เนชั่นแนลไฟแนนซิ่ง รีพอร์ติ้ง ซึ่งมีหลายประเทศได้ยอมรับมาตรฐานนี้  เนื่องจากนักบัญชีในหมู่มาก จำเป็นที่จะต้องสนใจในเรื่องของมาตรฐานการบัญชีให้ได้มากที่สุด และต้องติดตามในเรื่องของประเด็นการเปลี่ยนแปลงบัญชีในระดับมาตรฐานและภาพรวมต่างๆเพื่อให้เข้ากับมาตรฐานการบัญชีในยุคใหม่ มาตรฐานการบัญชี  จะเป็นต้องมีการพิจารณาและทำความเข้าใจว่าการยกเลิกรายการพิเศษหรือมาตรฐานในเรื่องของการปรับปรุงประเทศนั้นมีการประกาศใช้ในประเทศไทย อย่างสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน และประเด็นสุดท้ายของภาพรวมมาตรฐานการบัญชีก็คือ ไม่ควรที่จะพลาดในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ สำหรับมาตรฐานการบัญชีแต่ละฉบับที่ได้จัดทำขึ้นมานั้น เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาตามประเด็นโดยอนุญาตให้สามารถทยอยการประเมินกิจการต่างๆได้ และสร้างโอกาสในเงินลงทุน แต่มาตรฐานการบัญชีชุดที่ 2 จะเน้นในเรื่องของสินทรัพย์และแนวคิดตามค่าของเงินเพื่อไม่ให้กระทบกับบริษัทต่างๆในประเทศไทย โดยจะมีข้อบ่งชี้ตามมาตรฐานการบัญชีเพื่อให้ผู้เช่านั้นทำรายการบันทึกในส่วนของสัญญาเงินเช่าสินทรัพย์ต่างๆต่อไปนี้คือ, ผู้เช่าต้องมีการรับผิดชอบความผันผวนของราคาซาก, ผู้เช่าต้องมีการรับผิดชอบความเสียหายจากการยกเลิกสัญญาต่างๆ, ผู้เช่าจะต้องได้รับการต่อสัญญาในเรื่องของการเช่าด้วยอัตราค่าเช่าที่ถูกแสนถูก แต่มาตรฐานการบัญชีที่ 3 เน้นในเรื่องของการจัดทำงบการเงินเป็นหลัก และไม่อนุญาตให้มีการอ้างในการไม่คำนวณผลกระทบต่างๆอย่างน่าเชื่อถือและการไม่ปรับปรุงตัวเลขในการทำบัญชี และนี่ก็เป็นมาตรฐานของการบัญชีที่มีการเปลี่ยนแปลงและนำมาใช้ในปัจจุบัน ซึ่งการปฏิบัติตามจะทำให้นักบัญชีมีความผ่อนคลายมากขึ้น อย่างไรก็ตามนักบัญชีทุกๆคนและผู้ที่มีการใช้งบการเงินต่างๆ ต้องทำใจในเรื่องของมาตรฐานในปีอื่นๆที่จะตามมาด้วย เพราะว่ามาตรฐานทางบัญชีมันมีการเปลี่ยนแปลง และเพิ่มเติมตลอดเวลา เพื่อให้การบัญชีไทย ก้าวไกลไปในระดับเวิร์ลคลาส

มาตรฐานการบัญชี
มาตรฐานการบัญชี
Scroll to Top